บทที่ 4

ผลการศึกษา

 

           โครงการศึกษา เรื่อง  ชุดฝึกปฏิบัติงานระบบฉีดเชื้อเพลิงอิเล็กทรอนิกส์ ผู้ศึกษาได้รวบรวมผลจากแบบประเมินคุณภาพของผู้เชี่ยวชาญ   ซึ่งแบ่งออกเป็น  4  ด้าน คือ   ด้านข้อกำหนดในการออกแบบ  และด้านข้อกำหนดของวัตถุประสงค์การนำไปใช้งาน   ผลการวิเคราะห์ความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ  จำนวน  9   ท่าน

- ด้านการสร้างชุดฝึกปฏิบัติ

- ด้านการใช้งานชุดฝึกปฏิบัติ

- ด้านคู่มือการใช้งานของชุดฝึกปฏิบัติ

- ด้านเอกสารประกอบชุดฝึกปฏิบัติ

4.1  ผลการวิเคราะห์คุณภาพด้านข้อกำหนดในการออกแบบ

              ด้านข้อกำหนดในการออกแบบ  ผู้ศึกษาได้แบ่งรายการประเมินออกเป็น  7   ข้อ       ผลการ

วิเคราะห์ข้อมูลการประเมินคุณภาพของชุดฝึกปฏิบัติงานระบบฉีดเชื้อเพลิงอิเล็กทรอนิกส์ในด้านข้อกำหนดในการออกแบบ  โดยผู้เชี่ยวชาญ ปรากฏผลตามตารางที่  4 – 1

ตารางที่  4-1 แสดงค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและความหมายคุณภาพ ของชุดฝึก  

                        ปฏิบัติงานระบบฉีดเชื้อเพลิงในด้านข้อกำหนดในการออกแบบ

 

รายการประเมิน

S.D.

ความหมาย

1. ความเหมาะสมของขนาดชุดฝึกปฏิบัติ

 

 

 

2. ความเหมาะสมในการจัดวางตำแหน่งอุปกรณ์

 

 

 

3. วัสดุที่ใช้ผลิตโครงสร้างมีอยู่ทั่วไป หาได้ง่าย

 

 

 

4. ความคงทนแข็งแรง

 

 

 

5. ความปลอดภัยในการปฎิบัติงาน

 

 

 

6. ความสะดวกในการเคลื่อนย้าย

 

 

 

7. ความสะดวกในการเก็บรักษาอุปกรณ์หลังการใช้งาน

 

 

 

เฉลี่ยรวมด้านข้อกำหนดในการออกแบบ

 

 

 

            

                จากตารางที่ 4-1   พบว่าคุณภาพของชุดฝึกปฏิบัติระบบฉีดเชื้อเพลิงอิเล็กทรอนิกส์           ในด้านข้อกำหนดในการออกแบบเฉลี่ยรวมอยู่ในระดับดี  และเมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ส่วนใหญ่อยู่ในระดับดีใช้

                ผลการวิเคราะห์ข้อเสนอแนะจากคำถามปลายเปิด ด้านข้อกำหนดในการออกแบบผู้เชี่ยวชาญไม่มีข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

 

4.2        ผลการวิเคราะห์คุณภาพด้านข้อกำหนดของวัตถุประสงค์การนำไปใช้งาน

              4.2.1  แบ่งการประเมินออกเป็น  6  เรื่อง  คือ    พื้นฐานระบบฉีดเชื้อเพลิงอิเล็กทรอนิกส์หน่วยควบคุมอิเล็กทรอนิกส์และวงจรจ่ายไฟฟ้า     ตัวตรวจจับความดันท่อไอดี   ตัวกำเนิดมุมเพลา

ข้อเหวี่ยงและตัวกำเนิดสัญญาณความเร็วรอบ  ระบบเชื้อเพลิง  และหัวฉีด

                            4.2.1.1  พื้นฐานระบบฉีดเชื้อเพลิงอิเล็กทรอนิกส์  ผู้ศึกษาได้แบ่งหัวข้อของรายการประเมินในด้านข้อกำหนดของวัตถุประสงค์การนำไปใช้งานออกเป็น 3  ข้อ   ผลการวิเคราะห์ข้อมูลการประเมินคุณภาพของชุดฝึกปฏิบัติงานระบบฉีดเชื้อเพลิงอิเล็กทรอนิกส์ในด้านข้อกำหนดของวัตถุประสงค์การนำไปใช้งาน ซึ่งทำการประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญ ปรากฏผลตามตารางที่  4–2

ตารางที่ 2  แสดงค่าเฉลี่ย  ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและความหมายคุณภาพ  ของชุดฝึกปฏิบัติ

                          พื้นฐานระบบฉีดเชื้อเพลิงอิเล็กทรอนิกส์                

    

รายการประเมิน

S.D.

ความหมาย

1.  เพื่อตรวจสอบความผิดปกติของอุปกรณ์ระบบฉีด

     เชื้อเพลิงอิเล็กทรอนิกส์

 

 

 

2.  เพื่อต่อวงจรระบบฉีดเชื้อเพลิงอิเล็กทรอนิกส์

 

 

 

3.  เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้

 

 

 

เฉลี่ยรวมด้านข้อกำหนดของวัตถุประสงค์การนำไปใช้งาน

 

 

 

            

                จากตารางที่ 2  พบว่า  คุณภาพของชุดฝึกปฏิบัติพื้นฐานระบบฉีดเชื้อเพลิงอิเล็กทรอนิกส์ ในด้านข้อกำหนดของวัตถุประสงค์การนำไปใช้งาน เฉลี่ยรวมอยู่ในระดับดี และเมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า รายการประเมินทั้ง 3 ข้อ  อยู่ในระดับคุณภาพดี        

             ผลการวิเคราะห์ข้อเสนอแนะจากแบบสอบถามปลายเปิดด้าน ข้อกำหนดของวัตถุประสงค์การนำไปใช้งาน ผู้เชี่ยวชาญไม่มีข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

                      4.2.1.2  หน่วยควบคุมอิเล็กทรอนิกส์และวงจรจ่ายไฟฟ้า  ผู้ศึกษาได้แบ่งรายการประเมินในด้านข้อกำหนดของวัตถุประสงค์การนำไปใช้งานออกเป็น 3  ข้อ  ผลการวิเคราะห์ข้อมูลการประเมินของชุดฝึกปฏิบัติงานระบบฉีดเชื้อเพลิงอิเล็กทรอนิกส์   ในด้านข้อกำหนดของวัตถุประสงค์การนำไปใช้งาน  โดยผู้เชี่ยวชาญ ปรากฏผลตามตารางที่  4–3

ตารางที่ 3  แสดงค่าเฉลี่ย  ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน  และความหมายคุณภาพ  ของชุดฝึก

                         ปฏิบัติหน่วยควบคุมอิเล็กทรอนิกส์และวงจรจ่ายไฟฟ้า  ในด้านข้อกำหนดของ 

                         วัตถุประสงค์การนำไปใช้งาน

 

รายการประเมิน

S.D.

ความหมาย

1.  เพื่อตรวจสอบความผิดปกติของอุปกรณ์ควบคุม

     อิเล็กทรอนิกส์

 

 

 

2.  เพื่อต่อวงจรควบคุมอิเล็กทรอนิกส์

 

 

 

3.  เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้

 

 

 

เฉลี่ยรวมด้านข้อกำหนดของวัตถุประสงค์การนำไปใช้งาน

 

 

 

 

                จากตารางที่ 3  พบว่า  คุณภาพชุดฝึกปฏิบัติหน่วยควบคุมอิเล็กทรอนิกส์และวงจรจ่ายไฟฟ้า  ในด้านข้อกำหนดของวัตถุประสงค์การนำไปใช้งาน เฉลี่ยรวมอยู่ในระดับคุณภาพดี และเมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า รายการประเมินทั้ง 3 ข้อ  อยู่ในระดับคุณภาพดี        

             ผลการวิเคราะห์ข้อเสนอแนะจากแบบสอบถามปลายเปิด   ด้านข้อกำหนดวัตถุประสงค์การใช้งาน  ผู้เชี่ยวชาญไม่มีข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

                      4.2.1.3 ตัวตรวจจับความดันท่อไอดี ศึกษาได้แบ่งรายการประเมินในด้านข้อกำหนดของวัตถุประสงค์การนำไปใช้งานออกเป็น  3   ข้อ   ผลการวิเคราะห์การประเมินคุณภาพของชุดฝึกปฏิบัติงานระบบฉีดเชื้อเพลิงอิเล็กทรอนิกส์  ในด้านข้อกำหนดของวัตถุประสงค์การนำไปใช้งาน  โดยผู้เชี่ยวชาญ ปรากฏผลตามตารางที่ 4-4

ตารางที่ 4  แสดงค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและความหมายคุณภาพของชุดฝึกปฏิบัติงาน

                         ตัวตรวจจับความดันในท่อร่วมไอดี ในด้านข้อกำหนดของวัตถุประสงค์                                       

                         การนำไปใช้งาน

 

 

 

รายการประเมิน

S.D

ความหมาย

1.  เพื่อตรวจสอบความผิดปกติของอุปกรณ์ ตัวตรวจจับความ

     ดันในท่อร่วมไอดี

 

 

 

2.  เพื่อต่อวงจรตัวตรวจจับความดันในท่อร่วมไอดี

 

 

 

3.  เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้

 

 

 

เฉลี่ยรวมด้านข้อกำหนดของวัตถุประสงค์การนำไปใช้งาน

 

 

 

             จากตารางที่ 4–4 พบว่า  คุณภาพของชุดฝึกปฏิบัติงานตัวตรวจจับความดันในท่อร่วมไอดีในด้านข้อกำหนดวัตถุประสงค์การนำไปใช้งาน เฉลี่ยรวมอยู่ในระดับคุณภาพดี และเมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่ารายการประเมินทั้ง 3 ข้อ  อยู่ในระดับคุณภาพดี                    

             ผลการวิเคราะห์ข้อเสนอแนะจากแบบสอบถามปลายเปิดด้านข้อกำหนดวัตถุประสงค์การใช้งาน  ผู้เชี่ยวชาญไม่มีข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

4.2.1.4        ตัวกำเนิดมุมเพลาข้อเหวี่ยง และตัวกำเนิดสัญญาณความเร็วรอบ   ผู้ศึกษาได้แบ่งรายการประเมินคุณภาพในด้านข้อกำหนดของวัตถุประสงค์การนำไปใช้งานออกเป็น 3 ข้อ ผลการวิเคราะห์ข้อมูลการประเมินคุณภาพของชุดฝึกปฏิบัติงานระบบฉีดเชื้อเพลิงอิเล็กทรอนิกส์ ในด้านข้อกำหนดของวัตถุประสงค์การนำไปใช้งาน โดยผู้เชี่ยวชาญ ปรากฏผลตามตารางที่ 4-5

ตารางที่ 4 – 5  แสดงค่าเฉลี่ย  ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและความหมายคุณภาพของชุดฝึกปฏิบัติ

                           ตัวกำเนิดมุมเพลาข้อเหวี่ยงและตัวกำเนิดสัญญาณความเร็วรอบ ในด้าน

                           ข้อกำหนดวัตถุประสงค์การนำไปใช้งาน

 

รายการประเมิน

S.D.

ความหมาย

1. เพื่อตรวจสอบความผิดปกติของตัวกำเนิดสัญญาณมุมเพลา

   ข้อเหวี่ยงและตัวกำเนิดสัญญาณความเร็วรอบ

 

 

 

2. เพื่อต่อวงจรตัวกำเนิดสัญญาณมุมเพลาข้อเหวี่ยงและตัว

    กำเนิดสัญญาณความเร็วรอบ

 

 

 

3. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้

 

 

 

เฉลี่ยรวมด้านข้อกำหนดของวัตถุประสงค์การนำไปใช้งาน

 

 

 

 

                จากตารางที่ 4–5 พบว่า  คุณภาพชุดฝึกปฏิบัติตัวกำเนิดมุมเพลาข้อเหวี่ยง และตัวกำเนิดสัญญาณความเร็วรอบ    ในด้านข้อกำหนดของวัตถุประสงค์การนำไปใช้งาน เฉลี่ยรวมอยู่ในระดับคุณภาพดี และเมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า รายการประเมินทั้ง 3 ข้อ  อยู่ในระดับคุณภาพดี        

                ผลการวิเคราะห์ข้อเสนอแนะจากแบบสอบถามปลายเปิด ด้านข้อกำหนดของวัตถุประสงค์การนำใช้งาน  ผู้เชี่ยวชาญไม่มีข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

                            4.2.1.5  ระบบเชื้อเพลิง ผู้ศึกษาได้แบ่งรายการประเมินคุณภาพในด้านข้อกำหนดของวัตถุประสงค์การนำไปใช้งานออกเป็น 3  ข้อ ผลการวิเคราะห์ข้อมูลการประเมินคุณภาพของชุดฝึกงานระบบฉีดเชื้อเพลิงอิเล็กทรอนิกส์ ในข้อกำหนดของวัตถุประสงค์การนำไปใช้งาน โดยผู้เชี่ยวชาญปรากฏผลตามตารางที่ 4–6

ตารางที่ 6  แสดงค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและความหมายคุณภาพ ของชุดฝึกปฏิบัติ 

                     ระบบเชื้อเพลิง ในด้านข้อกำหนดของวัตถุประสงค์การนำไปใช้งาน

 

รายการประเมิน

S.D.

ความหมาย

1.  เพื่อตรวจสอบความผิดปกติของอุปกรณ์ระบบเชื้อเพลิง

 

 

 

2.  เพื่อต่อวงจรระบบเชื้อเพลิง

 

 

 

3.  เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้

 

 

 

เฉลี่ยรวมด้านข้อกำหนดของวัตถุประสงค์การนำไปใช้งาน

 

 

 

 

           จากตารางที่4–6 พบว่า คุณภาพของชุดฝึกระบบเชื้อเพลิง ในด้านข้อกำหนดของวัตถุประสงค์การนำไปใช้งาน เฉลี่ยรวมอยู่ในระดับคุณภาพดี และเมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า รายการประเมินทั้ง 3 ข้อ อยู่ในระดับคุณภาพดี

           ผลการวิเคราะห์ข้อเสนอแนะ จากแบบสอบถามปลายเปิด ด้านข้อกำหนดวัตถุประสงค์การใช้งาน  ผู้เชี่ยวชาญไม่มีข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

                            4.2.1.5  หัวฉีด  ผู้ศึกษาได้แบ่งรายการประเมินคุณภาพในด้านข้อกำหนดของวัตถุประสงค์การนำไปใช้งานออกเป็น 3 ข้อ ผลการวิเคราะห์ข้อมูลการประเมินคุณภาพของชุดฝึกปฏิบัติงานระบบฉีดเชื้อเพลิงอิเล็กทรอนิกส์ ในข้อกำหนดของวัตถุประสงค์การนำไปใช้งาน โดยผู้เชี่ยวชาญปรากฏผลตามตารางที่ 4–7

ตารางที่  4–7   แสดงค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและความหมายคุณภาพของชุดฝึกปฏิบัติ หัวฉีดในด้านข้อกำหนดของวัตถุประสงค์การนำไปใช้งาน

 

 

 

 

รายการประเมิน

S.D.

ความหมาย

1.  เพื่อตรวจสอบความผิดปกติของอุปกรณ์หัวฉีด

 

 

 

2.  เพื่อต่อวงจรหัวฉีด

 

 

 

3.  เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้

 

 

 

เฉลี่ยรวมด้านข้อกำหนดของวัตถุประสงค์การนำไปใช้งาน

 

 

 

 

           จากตารางที่  7  พบว่า  คุณภาพของชุดฝึกปฏิบัติหัวฉีดในด้านข้อกำหนดของวัตถุประสงค์การนำไปใช้งาน เฉลี่ยรวมอยู่ในระดับคุณภาพดี และเมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า รายการประเมินทั้ง 3 ข้อ  อยู่ในระดับคุณภาพดี

             ผลการวิเคราะห์ข้อเสนอแนะจากแบบสอบถามปลายเปิดด้านข้อกำหนดวัตถุประสงค์การใช้งาน  ผู้เชี่ยวชาญไม่มีข้อเสนอแนะเพิ่มเติม   

 

          การวิเคราะห์ชุดฝึกปฏิบัติงานระบบฉีดเชื้อเพลิงอิเล็กทรอนิกส์       ในภาพรวมของด้าน

ข้อกำหนดในการออกแบบและในด้านข้อกำหนดของวัตถุประสงค์การนำไปใช้  ผลการวิเคราะห์

ภาพรวมของข้อมูลการประเมินคุณภาพ ของชุดฝึกปฏิบัติงานระบบฉีดเชื้อเพลิงอิเล็กทรอนิกส์

ทั้ง  2  ด้าน  ปรากฏผลตามตารางที่ 4-8

ตารางที่  4-8  แสดงภาพรวมของค่าเฉลี่ย  ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและความหมายคุณภาพ

                        ของชุดฝึกปฏิบัติงานระบบฉีดเชื้อเพลิงอิเล็กทรอนิกส์ในด้านข้อกำหนดในการออก

                        แบบและในด้านข้อกำหนดของวัตถุประสงค์การนำไปใช้งาน

 

รายการประเมิน

S.D.

ความหมาย

1. ด้านข้อกำหนดในการออกแบบ

 

 

 

2. ด้านข้อกำหนดของวัตถุประสงค์การนำไปใช้งาน

 

 

 

ภาพรวม

 

 

 

 

           จากตารางที่  4 – 8  พบว่า  คุณภาพของชุดฝึกปฏิบัติงานระบบฉีดเชื้อเพลิงอิเล็กทรอนิกส์โดยภาพรวมมีคุณภาพอยู่ในระดับดี และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน  พบว่า ทั้งด้านข้อกำหนด         ในการออกแบบ และข้อกำหนดของวัตถุประสงค์การนำไปใช้งานอยู่ในระดับคุณภาพดี

 

 

ลำดับที่

ข้อเสนอแนะอื่น ๆ

 

 

       1

สายไฟเสียบขั้วควรแยกสีให้ชัดเจน

2

ตัวอักษรบนแผงชุดฝึกปฏิบัติควรออกแบบให้เด่นชัด

3

ควรมีสเกลวัดปริมาณการฉีด

4

ควรมีเอกสารประกอบการบรรยาย และทดสอบชุดฝึก

5

ควรเพิ่มสวิทช์เปิด-ปิดหัวฉีด

 

 

main manu chapter1 chapter2 chapter 3 chapter 4 chapter 5

 

Free Web Hosting